กุญแจคณิตศาสตร์แบบฝึกหัด 1.2ข การลบ ทศนิยม

ในแบบฝึกหัดนี้ได้ ทำความเข้าใจกับ การลบทศนิยม หาผลลัพธ์ การลบทศนิยม และโจทย์การประยุกต์

การลบทศนิยม

1. จงหาผลลบ  
 

1) 25.15  - 10.5 

วิธีทำ   

                           1.1 การลบทศนิยม

 
 

2) 8.1 - (-3.92)

วิธีทำ

                     1.2 การลบทศนิยม

 
 

3) (-8.1) - (-3.09)

วิธีทำ

                1.3 การลบทศนิยม

 
 

4) (-0.011) - 0.39

วิธีทำ

                   1.4 กาลบทศนิยม

 
 

5) (-9.99) - 9.1

วิธีทำ

                         3.5 การลบทศนิยม

 
 

6) 8.17 - 21.25

วิธีทำ

                            3.6 การลบทศนิยม

 

 
 

7) (-18.75) - (-21.5)

วิธีทำ

            1.7 การลบทศนิยม

 

 
 

8) (-10.009) - (-10.009)

วิธีทำ

    1.8 การลบทศนิยม

 
 

9) 0 - (-14.498)

วิธีทำ

                            1.9 การลบทศนิยม

 
 

10) (-6.007) - 0

วิธีทำ

                        1.10 การลบทศนิยม

 
2. จงหาผลลัพธ์  
 

1) [(-5.2) + 8] - 2.8

วิธีทำ

                  การลบทศนิยม

 
 

2) [(-10.1) + 15.9] - (-3.2)

วิธีทำ

  กาลบทศนิยม

 
 

3) ( 9.05 - 3.7) + 12.1

วิธีทำ

            การลบทศนิยม

 
 

4) (8.5 - 11.9) + (-1.04)

วิธีทำ

    กาลบทศนิยม

 
 

5) [(-12.6) - 4.4] + 9.9

วิธีทำ

        การลบทศนิยม

 

 
 

6) [(-7.3) - 6.2] - 3.32

วิธีทำ

         กาลบทศนิยม

 
 

7) (-24.5) + (12.9 - 11.5)

วิธีทำ

   การลบทศนิยม

 
 

8) 20.30- (2 - 15.5)

วิธีทำ

                       กาลบทศนิยม

 
 

9) (-1.8) + [(-10.15) - 2.4]

วิธีทำ

 การลบทศนิยม

 
 

10) (-5.5) + [12.4 - 3.24]

วิธีทำ

         กาลบทศนิยม

 

3.

 

จงพิจารณาประโยค a - b = b - a แล้วตอบคำถามต่อไปนี้

ลองทำดูนะครับ

 
 

1) จงหาทศนิยมมาแทน a และ b เพื่อทำให้ประโยคข้างต้นเป็นจริง

 
 

2) จงหาทศนิยมมาแทน a และ b เพื่อทำให้ประโยคข้างต้นเป็นเท็จ

 
 

3) ทศนิยมมีสมบัติการสลับที่สำหรับการลบหรือไม่

 

4.

 

จงพิจารณาประโยค(a - b) - c = a -(b - c)

แล้วตอบคำถามต่อไปนี้     

ลองทำดูนะครับ

 
 

1) จงหาทศนิยมมาแทน a,b,c เพื่อทำให้ประโยคข้างต้นเป็นจริง

 
 

2) จงหาทศนิยมมาแทน a,b,c เพื่อทำให้ประโยคข้างต้นเป็นเท็จ

 
 

3) ทศนิยมมีสมบัติการเปลี่ยนหมู่สำหรับการลบหรือไม่

 

5.

 

ถังเปล่าใบหนึ่งหนัก 34.75 กรัม เอาน้ำใส่ถังใบนี้ แล้วชั่งใหม่ได้น้ำหนัก

85.2 กรัม อยากทราบว่าน้ำในถังมีน้ำหนักเท่าไร

 

 

วิธีทำ

น้ำหนักของน้ำ  = น้ำหนักถังที่ใส่น้ำ  -  น้ำหนักถังเปล่า

                       =  85.2  -  34.75

                       =   50.45  กรัม

 

6.

 

 

ถ้วยยูเรกา (Eureka) ใบหนึ่งหนัก 20.4 กรัม ถ้าเอาน้ำใส่เต็มถ้วยแล้วชั่ง

ได้หนัก  243.2 กรัม แต่ถ้าเอาน้ำเกลือใส่เต็มถ้วยแล้วชั่งได้หนัก 248.5

จงหาน้ำหนักของน้ำเต็มถ้วยหนักกว่าน้ำหนักของน้ำเกลือเต็มถ้วยกี่กรัม

 
 

วิธีทำ

น้ำหนักของน้ำ  = น้ำหนักของถ้วยที่ใส่น้ำ  - น้ำหนักถ้วย

                     =   243.2 - 20.4  = 222.8 กรัม

น้ำหนักน้ำเกลือ   = น้ำหนักของถ้วยที่ใส่เกลือ  - น้ำหนักถ้วย

                     =   248.5  -  20.4   = 228.1  กรัม

น้ำหนักของน้ำเต็มถ้วยหนักกว่าน้ำหนักของน้ำเกลือเต็มถ้วย

                     =   222.8 - 228.1   =  0.7   กรัม

 

7.

 

สังกะสีชิ้นหนึ่ง ชั่งในอากาศหนัก  78.5 กรัม ถ้าชั่งในน้ำหนัก 73.5 กรัม

อยากทราบว่าน้ำหนักของสังกะสีในน้ำ เบากว่าในอากาศเท่าไร

 
 

วิธีทำ

น้ำหนักของสังกะสีในน้ำ เบากว่าในอากาศ

         =  นน.ที่ชั่งในอากาศ  -  นน.ที่ชั่งในน้ำ

            =    78.5  - 73.5   =  5  กรัม

 

8.

 

 

 

ท่อระบายน้ำ ทรงกระบอกทำด้วยปูนซิเมนต์ วัดเส้นผ่าศูนย์กลาง

วงนอกของหน้าตัดได้  0.425 เมตร ปูนซิเมนต์ที่หล่อมา

หนา 0.038 เมตร

จงหาความยาวของเส้นผ่าศูนย์กลาง วงในที่เป็นส่วนกลาง

 
 

วิธีทำ

เส้นผ่าศูนย์กลาง วงใน 

     = เส้นผ่าศูนย์กลาง วงนอก  -  ความหนาปูนซิเมนต์

     =        0.425    -   0.038

     =        0.387  เมตร

 

9.

 

 

ธาตุไนโตรเจน ออกซิเจน และ ไฮโดรเจน มีจุดหลอมเหลว  -209.8°c

,-218.4°c และ  - 259.1°c  ตามลำดับ อยากทราบว่าจุดหลอมเหลว

สูงสุด และต่ำสุด ต่างกันกี่องศา

 
 

วิธีทำ

จุดหลอมเหลว สูงสุด  คือ ไนโตรเจน  =  -209.8

จุดหลอมเหลว ต่ำสุด  คือ ไฮโดรเจน  =  -259.1

อุณหภูมิต่างกัน  = สูงสุด  -  ต่ำสุด

                      =    -259.8 - (-259.1)

                      =     0.7   องศา

 

10.

 

 

ธาตุออกซิเจน มีจุดหลอมเหลว -218.4 °c และมีจุดเดือด -183°c

ถ้าต้องการให้ออกซิเจนเปลี่ยนสภาวะจากของเหลวเป็นก๊าซ จะต้อง

เพิ่มอุณหภูมิ อย่างน้อยที่สุดเท่าใด

 
 

วิธีทำ

ถ้าต้องการให้ออกซิเจนเปลี่ยน สภาวะจากของเหลวเป็นก๊าซ จะต้อง

เพิ่มอุณหภูมิ อย่างน้อยที่สุด

          =     จุดเดือด   -  จุดหลอมเหลว

          =     -183.0   -   (-218.4)

          =      35.4    องศา

 
 

   ชอบแล้ว เป็นกำลังใจให้เรา อย่าลืมกดปุ่ม ถูกใจ บน Facebook