คณิตศาสตร์ ม.2 แบบฝึกหัด 1.5 ค ข้อ3.
3. ศิกดิ์ชายเป็นข้าราชการมีเงินได้สุทธิ 188,280 บาท
ถูกหักภาษี ณ. ที่จ่าย 12,600 บาท
อยากทราบว่า เมื่อครบปีภาษี ศักดิ์ชาย จะต้องชำระภาษี เพิ่มเติม หรือรับเงินคืนภาษี
ที่ชำระไว้เกินเท่าไร
วิธืทำ เรารู้อะไรบ้าง รายได้ 188,280 บาท
ถูกหักภาษี ณ. ที่จ่าย 12,600 บาท
นำมาเทียบกับตารางที่หนังสือ กำหนด อยู่ในช่วงดังนี้
___________________________________________________________________
ขั้นเงินได้สุทธิ ตั้งแต่ |
เงินได้สุทธิ จำนวนสูงสุด ของขั้น |
อัตราภาษี ร้อยละ |
ภาษีในแต่ละขั้นเงินได้ |
ภาษีสะสมสูงสุดของขั้น |
1 ถึง 100,000
|
* 80,000 20,000 |
ยกเว้น 5 |
1,000 |
1,000 |
100,000 - 500,000
|
400,000
|
10
|
40,000
|
41,000
|
* เงินได้สุทธิ ส่วนที่ไม่เกิน 80,000 บาทแรก ได้รับการยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี
____________________________________________________________________
ศิกดิ์ชายเป็นมีเงินได้สุทธิ 188,280 บาท
เราต้องพิจารณาทีละขั้นดังนี้
เงินรายได้ตกอยู่ในช่วง 1 ถึง 100,000 และ 100,000 - 500,000 บาท
- 1. โดยเราจะคำนวน ภาษีในช่วง
1 ถึง 100,000 บาทแรก ต้องเสียภาษี 1,000 บาท
( ดูจาก ภาษีสะสมสูงสุดของขั้น )
- 2. ส่วนที่เกิน 1 แสนบาท คือ ช่วง
100,000 - 500,000 ต้องเสีย อัตราภาษีร้อยละ 10
ดังนั้น ศักดิ์ชาย จะต้องนำรายได้มาคำณวนภาษี
188,280 - 100,000 = 88,280 บาท
จากตาราง 100,000 - 500,000 ต้องเสีย อัตราภาษีร้อยละ 10
ศักดิ์ชาย จะต้องเสียภาษี ส่วนที่เกินจาก 1 แสนบาท
บาท
- ดังนั้น จากขั้นตอนการคำณวนภาษี 1 ถึง 100,000 และ 100,000 - 500,000 บาท
ต้องเสียภาษีทั้งสิ้น
บาท
- ถูกหักภาษี ณ. ที่จ่ายไว้จำนวน 12,600 บาท
ดังนั้นรับเงินคืนภาษี ที่ชำระไว้เกิน
บาท
______________________________________________